สนับสนุนเว็บ

ผู้เขียน หัวข้อ: [เว็บฝากไฟล์ไทย][Link เดียวจบ][Linux] FreeNAS-i386-LiveCD-0 7 2 5543  (อ่าน 501 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

Permalink: [เว็บฝากไฟล์ไทย][Link เดียวจบ][Linux] FreeNAS-i386-LiveCD-0 7 2 5543

02/มิ.ย./11 หัวข้อไอดี: 61139 | ลิ้งค์หัวข้อ: /topic/61139

ออฟไลน์ unrealx

  • ออฟไลน์
  • 15003
    0
    57491



  • SuperGenius
  • ******
  • สมัครสมาชิกเมื่อ 25/01/2011
    YearsYearsYearsYearsYearsYearsYearsYearsYearsYearsYearsYearsYears
  • เพศ: ชาย
  • กระทู้ : 15003
  • Like Post : 57491
  • Peny : 0
  • 31730

    • ดูรายละเอียด
    • Bit-80


  • เข้าใช้งานล่าสุดเมื่อ 26/เม.ย./12


__________________________________________________________________
คุณไม่สามารถมองเห็น links ได้ กรุณา.สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
[Linux] FreeNAS-i386-LiveCD-0 7 2 5543

__________________________________________________________________

คุณไม่สามารถมองเห็น links ได้ กรุณา.สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
[• เว็บฝากไฟล์ในไทย • ลิ้งค์เดียวจบ • ไม่ใช่เว็บบิท ]
ชื่อไฟล์ : 346015_TRDL3_FreeNAS-i386-LiveCD-0.7.2.5543_[bit-80.com].iso
ขนาดไฟล์ : 124.59375 เมกกะไบต์
__________________________________________________________________
Screenshot (ปก/ตัวอย่าง) :

คุณไม่สามารถมองเห็น links ได้ กรุณา.สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
http://postto.me/show.php?id=5b7d6b327cc04be711cd7553e839b906

__________________________________________________________________

Description (รายละเอียดไฟล์) :

[โปรแกรม/Mac, Linux]

การพัฒนาเทคโนโลยีที่เราได้เห็นกันบ่อยๆ อย่าง SAN กับ NAS นั้น ถูกพัฒนามาเพื่อให้ใช้งานกับลักษณะของข้อมูลที่แตกต่างกัน โดยที่ SAN พัฒนาเพื่อใช้กับข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ปริมาณมากๆ แต่มีประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลสูง ส่วน NAS กลับได้รับการออกแบบมาให้ใช้กับข้อมูลที่ต้องเข้าถึงในระดับไฟล์เป็นจุดสำคัญแทน ดังนั้นในองค์กรขนาดใหญ่ เทคโนโลยี SAN และ NAS จึงเป็นสิ่งจำเป็นมากเนื่องจากสามารถอำนวยความสะดวกและสร้างความยืดหยุ่นมากกว่าในการดูแลและเข้าถึงตัวข้อมูล









     

โครงสร้างพื้นฐานของ NAS

NAS นั้นเปรียบเสมือนกับว่าเป็นระบบไฟล์เซิร์ฟเวอร์ขนาดใหญ่ มีการเข้าถึงทำงานแบบไฟล์บนเซิร์ฟเวอร์โดยไคลเอ็นต์ หรือเวิร์กสเตชันผ่านทางเน็ตเวิร์กโพรโตคอลเช่น TCP/IP และผ่านทางแอพพลิเคชันเช่น NFS (Network File System) หรือ CIFS (Common Internet File System) สำหรับการเข้าถึงไฟล์ข้อมูลนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการเชื่อมต่อแบบ NAS ซึ่งมีอยู่ภายในไคลเอ็นต์อยู่แล้ว โครงสร้างของ NAS นั้นเน้นการให้บริการด้านไฟล์ ดังนั้นจึงช่วยให้การจัดการเข้าถึงไฟล์สามารถทำได้ด้วยความรวดเร็ว เนื่องจาก NAS จะซ่อนข้อมูลมากมายที่เกี่ยวรายละเอียดของไฟล์ต่างๆ เอาไว้



ทุกวันนี้ NAS จะใช้ส่งข้อมูลในปริมาณที่ไม่สูงมากนักเมื่อเทียบกับ SAN และต้องใช้ช่วงเวลาน้อยกว่าอีกด้วย แลน/แวนจะมีการบังคับแพ็กเก็ตขนาดใหญ่ให้แตกออกเป็นชิ้นย่อยในการส่ง ดังนั้นจำนวนแพ็กเก็ตยิ่งมากเท่าไรก็จะใช้ทรัพยากรเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือทำให้ซีพียูทำงานหนักขึ้นนั่นเอง จึงไม่เหมาะที่จะไว้รับส่งไฟล์ขนาดใหญ่มากๆ



จุดแข็งของ NAS

NAS จะใช้ได้ดีกับองค์กรที่ต้องการส่งไฟล์ไปกับหลายๆ ไคลเอ็นต์ผ่านทางเน็ตเวิร์ก NAS นั้นจะสามารถทำงานได้ดีกับระบบที่ต้องส่งข้อมูลเป็นระยะทางไกลๆ เนื่องจากแพ็กเก็ตนั้นจะมีขนาดเล็กมากจนระยะไม่มีผลต่อข้อมูล สามารถส่งข้อมูลทีละน้อยๆ ได้ หรือมีผลกระทบน้อยมากในขณะส่งข้อมูล



NAS นั้นให้ความปลอดภัยได้ในระดับของไฟล์ เนื่องจากตัวของไฟล์เองนั้นจะถูกล็อคไว้โดยแอพพลิเคชันเอง ดังนั้นหากจะคอนฟิกูเรชันค่าใดๆ ในระบบจึงต้องจัดการด้วยความระมัดระวัง



ข้อได้เปรียบของ NAS



NAS นั้นมีความสำคัญเป็นอย่างมากสำหรับการแชร์ไฟล์ เช่น NFS ในยูนิกซ์ หรือ CIFS ในวินโดวส์ เอ็นที โดยสามารถส่งไฟล์ข้อมูลไปให้กับหลายๆ ไคลเอ็นต์ โดยที่มีการป้องกันในเรื่องความปลอดภัยได้ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดของแอพพลิเคชันที่ควรใช้ NAS เพื่อประสิทธิภาพการทำงานมี 2 แอพพลิเคชันคือ ระบบไดเรกทอรี่และเว็บเซิร์ฟเวอร์ โดยทั้งสองแอพพลิเคชันนี้มีการดึงข้อมูลเพื่อนำไปใช้ แจกจ่าย หรือไปสร้างเว็บเพจนั้นเอง



และสำหรับในองค์กรที่มีการใช้ฐานข้อมูล มีการเข้าถึงข้อมูลแบบอ่านอย่างเดียว (จำกัดสิทธิ์) มีผู้ใช้น้อย โซลูชันระบบ NAS จะสามารถช่วยการลดค่าใช้จ่ายขององค์กรแบบนี้ลงได้เช่นกัน

 

__________________________________________________________________
Credit : คุณไม่สามารถมองเห็น links ได้ กรุณา.สมัครสมาชิก หรือ เข้าสู่ระบบ
เว็บเพื่อนบ้าน

LikePost โดย 0 สมาชิก :


 

Sitemap 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 
ร่วมขับเคลื่อนโดย